สุดยอด เมื่อคณะสงฆ์หลายวัด สมรู้ร่วมคิดกับนักการเมือง
Last edited by chanbaan on Thu May 13, 2010 8:05 am, edited 1 time in total.
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) (นามเดิม: เกี่ยว โชคชัย) เป็นพระสงฆ์มหานิกาย ดำรง ตำแหน่งเป็นกรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ...
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.9) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร ป.ธ.9) วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร (ธรรมยุต-กรรมการมหาเถรสมาคม)
- สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี ป.ธ.9) วัดสุทัศนเทพวราราม (กรรมการมหาเถรสมาคม)
- สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.9) วัดพิชยญาติการาม (เจ้าคณะใหญ่หนกลาง, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระพรหมเวที (สนิท ชวนปญฺโญ ป.ธ.9) วัดไตรมิตรวิทยาราม (เจ้าคณะภาค 8, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร ป.ธ.3) วัดยานนาวา (กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร ป.ธ.6) วัดสระเกศ (เจ้าคณะภาค 12, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ ป.ธ.9) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (เจ้าคณะภาค 7, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ ป.ธ.7) วัดกะพังสุรินทร์ จังหวัดตรัง (เจ้าคณะใหญ่หนใต้)
- พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร ป.ธ.6) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม (เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร)
- พระธรรมวโรดม (สมเกียรติ กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.9) วัดทินกรนิมิต จังหวัดนนทบุรี (เจ้าคณะภาค 9)
- พระพรหมเมธี (จำนง ธมฺมจารี) วัดสัมพันธวงศาราม (ธรรมยุต-เจ้าคณะภาค 4-5-6-7, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระพรหมดิลก (เอื้อน หาสธมฺโม ป.ธ.9) วัดสามพระยา (เจ้าคณะภาค 14, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน ป.ธ.9) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (เจ้าคณะภาค 5)
- พระพรหมสิทธิ (ธงชัย สุขญาโณ) วัดสระเกศ (เจ้าคณะภาค 10)
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.9) วัดราชโอรสาราม (ราชบัณฑิต)
- พระธรรมราชานุวัตร (สุทัศน์ สุทสฺสโน ป.ธ.6) วัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย (เจ้าคณะภาค 6)
- พระธรรมเจดีย์ (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ ป.ธ.9) วัดกัลยาณมิตร (เจ้าคณะภาค 13)
- พระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสสฺธมฺโม ป.ธ.9) วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม (เจ้าคณะภาค 15)
- พระธรรมปิฎก (ชวลิต อภิวฑฺฒโน ป.ธ.9) วัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี (เจ้าคณะจังหวัดสระบุรี)
- พระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต ป.ธ.9) วัดสุทัศนเทพวราราม (เจ้าคณะภาค 4)
- พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.9) วัดประยูรวงศาวาส (เจ้าคณะภาค 2, กรรมการมหาเถรสมาคม)
- พระธรรมธีรราชมหามุนี (เที่ยง อคฺคธมฺโม ป.ธ.9) วัดระฆังโฆสิตาราม (เจ้าคณะภาค 11)
- พระธรรมวิมลโมลี (รุ่น ธีรปญฺโญ ป.ธ.9) วัดชลประทานรังสฤษฎ์ จังหวัดนนทบุรี (เจ้าคณะภาค 17)
- พระธรรมปริยัติโมลี (อาทร อินฺทปญฺโญ ป.ธ.9) วัดบพิตรพิมุข (เจ้าคณะภาค 3)
- พระธรรมวงศาจารย์ (นิมิต ทนฺตจิตฺโต ป.ธ.4) วัดโคกสมานคุณ จังหวัดสงขลา (เจ้าคณะภาค 18)
- พระเทพสุธี (สงคราม อสิญาโณ ป.ธ.9) วัดไตรธรรมาราม จังหวัดสุราษฎร์ธานี (เจ้าคณะภาค 16)
- พระเทพรัตนสุธี (สมศักดิ์ โชตินฺธโร ป.ธ.5) วัดเขียนเขต จังหวัดปทุมธานี (เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี)
- พระราชวิสุทธิเวที (สายชล ฐานวุฑฺโฒ ป.ธ.9) วัดชนะสงคราม (เจ้าคณะภาค 1)
- คณะสงฆ์จังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
- คณะสงฆ์ทั้งแผ่นดิน
- คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร
- วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย
- สมาคมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทย
- ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
ผู้อุปถัมภ์โครงการ
พระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานมูลนิธิธรรมกาย
ข้อมูล http://forum.serithai.net/viewtopic.php?f=2&t=22611
ข้อมูลความมั่นคงสถาบันพระศาสนา ที่ต้องศึกษาด่วน ที่ http://picasawebcothssomkiert.blogspot.com/2012/03/blog-post_06.html
ข้อมูลความมั่นคงสถาบันพระศาสนา ที่ต้องศึกษาด่วน ที่ http://picasawebcothssomkiert.blogspot.com/2012/03/blog-post_06.html
เมือพุทธ ???
ตอบลบเป็นเรื่องน่าเศร้าใจกับเรื่องแบบนี้ โดยส่วนตัวยึดถือธรรมะของพระพุทธเจ้าเป็นหลักปฏิบัติโดยไม่ยึดติดกับพระภิกษุสงฆ์รูปหนึ่งรูปใด และเลือกทำบุญตามควรแก่โอกาสและฐานะ และจะไม่ทำบุญกับพระหรือวัดที่เรี่ยไรเงินเพื่อสร้างศาสนวัตถุราคาแพงๆเกินความจำเป็น
ตอบลบขออนุโมทนาครับ ที่เข้าศึกษาข้อมูล โดยมีมหาสติและมหาปัญญา โดยแท้ ผมคิดว่าเป็นหน้าที่ที่ ชาวพุทธทุกท่านควรหาทางแก้ไข อย่าเศร้าครับ เพราะผมเศร้ามามากแล้วครับ
ลบขอบคุณมากครับ ที่ชี้แนะทำให้ดวงตาเห็นธรรมที่ถูกต้องสมบูรณ์ เข้าถึงแก่นธรรมโดยแท้
ตอบลบ-ขอขอบพระคุณอย่างยิ่งที่ช่วยชี้แนะ ทำให้ดวงตาเห็นธรรม ได้องค์ความรู้เกิดปัญญา คิดอยู่เหมือนกันแต่ไม่มีข้อมูลความเชื่อมโยงและโครงสร้างในรายละเอียด ชัดเจนมากครับ
ตอบลบขออนุโมทนาครับ ช่วยพระศาสนา ด้วยการแบ่งปันข้อมูลเพื่อการศึกษา ครับ
ลบมีแต่คนห่มผ้าเหลือง....ทำมาหากินกับศรัทธาของผู้เลื่อมใส
ตอบลบดังนั้น ตามที่ท่านกล่าว "ตนแลเป็นที่พึ่งแห๋งตน" น่ะดีที่สุดแล้ว
แต่ก็ต้อง มี"ผู้ชี้แนะ"ด้วยสิคะถึงจะเดินไปในทางที่ถูกได้
...
ขอบคุณในคำแนะนำค่ะ
-___-.....แย่จัง..
ตอบลบพอรู้ข้อมูลในเรื่องนี้บ้างค่ะ..แค่ไม่รู้รายละเอียดบุคคล..
อาศัยว่า "เหลี่ยม" และ พรรคพวก ไปหา "คนห่มผ้าเหลือง" คนไหนบ่อยๆ ก็จะเข้าใจได้..
ดังคำท่านว่า "ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน"....แต่ก็ยังต้องการ "คนชี้แนะ"
ในการให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมมะน่ะค่ะ
ในความเห็นส่วนตัว ควรไปกราบ สมเด็จพระวันรัต และ พระเทพสารเวที่ เลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ณ.วัดบวรนิเวศ ครับ
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบพระอักษรและพระวรธรรมคติ สมเด็จพระสังฆราช กฎแห่งกรรม ผู้เป็นภัยสถาบันพระศาสนา ? ธรรมะไชโย ประกาศเป็นลายลักษณ์อักษรก็เพื่อเตือนให้รู้ทั่วกันว่า ผู้ต้องอาบัติปาราชิกนั้นไม่ใช่พระในพุทธศาสนา เป็นเพียงผู้นำผ้ากาสาวพัตร์ไปครอง เป็นพระปลอม ต่อจากนั้นย่อมเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้รักษากฎหมาย หรือของผู้มีหน้าที่ในการพุทธศาสนา จะต้องรักษาพระพุทธศาสนาไม่ให้มีพระปลอมมาทำลาย ทำให้เสื่อมเสีย เช่นที่ผู้รักษากฎหมายเคยทำมาแล้ว เคยบังคับให้เป็นผู้ปลอมเป็นพระ ถอดผ้ากาสาวพัตร์ออกจากตัว การปฏิบัติต่อพระปลอมต้องไม่มีแตกต่างกัน ต้องไม่มียกเว้นว่า คนนั้นปลอมได้คนนี้ปลอมไม่ได้ เป็นพระปลอมมีอยู่ในพุทธศาสนาไม่ได้ทั้งนั้น ประกาศนั้นเป็นคำบอกเล่าเป็นคำเตือนให้รู้ เป็นเรื่องส่วนตัวไม่เกี่ยวข้องกับมหาเถรฯไม่บังคับให้เชื่อ ไม่บังคับใครให้ทำอะไร แสดงความถูกผิดให้ปรากฏอยู่เท่านั้น ในฐานะที่เป็นประมุขแห่งสงฆ์ในพระพุทธศาสนา จึงต้องทำหน้าที่ส่วนตนให้เรียบร้อยถูกต้อง บอกความจริงด้วยความหวังดีมิได้บังคับ จงเข้าใจทั่วกัน" ข้อมูลผู้ทำลายพระศาสนา ที่ http://picasawebcothssomkiert.blogspot.com/2011/11/blog-post_21.html
ตอบลบกาลามสูตร คือ พระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตติยนิคม แคว้นโกศล (เรียกอีกอย่างว่า เกสปุตติยสูตร หรือเกสปุตตสูตร ก็มี[1]) กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
ตอบลบอย่าเพิ่งเชื่อตามที่ฟังๆ กันมา
อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ทำต่อๆ กันมา
อย่าเพิ่งเชื่อตามคำเล่าลือ
อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างตำรา
อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา
อย่าเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา
อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล
อย่าเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน
อย่าเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณ์ที่ควรเชื่อได้
อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผู้พูดเป็นครูบาอาจารย์ของตน