บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2018

#การสร้างเหรียญในประวัติศาสตร์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) เพื่อการระลึก ประวัติศาสตร์และความมั่นคงพระศาสนา

รูปภาพ
ประวัติ สมเด็จพระพุฒาจารย์( โต พรหมรังสี ) เกิด 17 เมษายน พ.ศ. 2331 อุปสมบท พ.ศ. 2350 มรณภาพ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2415 พรรษา 65 อายุ 84 วัด วัดระฆังโฆสิตาราม จังหวัด กรุงเทพมหานคร สังกัด มหานิกาย ตำแหน่งงานคณะสงฆ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) มีนามเดิมว่า “โต” เมื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา ได้นามฉายาว่า “พรหมรังสี” ท่านเกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 5 ขึ้น 12 ค่ำ ปีวอก ตรงกับวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2331 ที่บ้านท่าหลวง อำเภอท่าเรือ[1] จังหวัดพระนครศรีอยุธยา[2] จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์) กล่าวว่าสมเด็จโตเป็นโอรสนอกเศวตฉัตรของพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราช ครั้งทรงพระยศเป็น เจ้าพระยาจักรี[ต้องการแหล่งอ้างอิง] โยมมารดา ของท่านชื่อนางงุด บุตรของนายผลกับนางลา ชาวนาเมืองกำแพงเพชร [3] สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "สมเด็จโต" เป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้ทรงคุณทางด้านวิชชาคาถาอาคม เมตตามหานิยม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุมงคล "พระสมเด็จ" ของท่าน ที่ถูกจัดเข้าในเบญจภ

#หลวงปู่ทวด องค์ในประวัติศาสตร์ เพื่อหาทุนในการพิทักษ์รักษา โบราณสถาน โบราณวัตถุ ๒๕๖๑

รูปภาพ
  "พระหลวงปู่ทวด หลังเตารีด ปี 2505"  มูลเหตุของการจัดสร้างนั้น เป็นเพราะหลังจาก  "พระหลวงปู่ทวดเนื้อว่าน ปี พ.ศ.2497"  สร้างและปลุกเสกแล้วเสร็จออกให้เช่าบูชา ปรากฏว่ามีผู้ร่วมบุญจำนวนมาก จำนวนพระไม่พอกับความต้องการ จึงเกิดเสียงเรียกร้องให้จัดสร้างพระเครื่องหลวงปู่ทวดขึ้นอีก โดยในครั้งนี้จัดสร้างเป็นพระเนื้อโลหะตามความประสงค์ของ  "หลวงปู่ทวด"  ผ่านทาง  "หลวงปู่ทิม"  ปรากฏว่า ได้สร้างประสบการณ์เฉกเช่นเดียวกับ  "พระหลวงปู่ทวด ปี พ.ศ.2497"  ทุกประการ  ปัจจุบันจะหาดูของแท้ๆ นั้นยากยิ่งนัก เพราะของทำเทียมมีมากมาแต่ดั้งเดิม    พระหลวงปู่ทวด หลังเตารีด จัดสร้างในปี พ.ศ.2505 โดยสร้างเป็นเนื้อโลหะหลากหลายชนิด ทั้งเนื้อทองคำผสม เนื้อนวโลหะ เนื้อเมฆพัด และเนื้อโลหะผสม โดยเนื้อโลหะผสมจะมี 2 วรรณะ สืบเนื่องจากส่วนผสมของโลหะ คือ วรรณะแดง (แก่ทองแดง) และวรรณะเหลือง (แก่ทองเหลือง)   ทั้งหลายทั้งมวลนี้ การจัดสร้างจึงจำเป็นต้องมีทุนมากกว่าการหล่อแบบเดิม ซึ่งก็ได้  พระเจ้า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรฯ  หรือ