บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2012

จารึกประวัติศาสตร์ ผลงานมหาเถรสมาคม

รูปภาพ
ศึกษาข้อมูล วิทยานิพนธ์ด้านความมั่นคงสถาบันพระศาสนา ในประวัติศาสตร์ ได้ที่ https://docs.google.com/file/d/0B_nOh0gPsWNSUkVWRG9aQ3pkbmc/edit ช่วยแบ่งปันได้เพื่อสร้างบุญบารมี ถวายสมเด็จพระสังฆราช ครับ ต่ออายุกรรมการมหาเถรสมาคม รุ่นเก่า แต่ต่ออายุให้ใหม่ ใครอยากเห็นคนต่ออายุตัวเองได้ ก็เชิญชม "ตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม"  เป็นตำแหน่งผูกขาดของเจ้าคณะใหญ่ในหนต่างๆ ที่เอาตัวเองเข้าไปนั่งกินตำแหน่งจนตาย และยังสำรองป้องกันอำนาจไว้ โดยการนำเอาพระลูกวัดหรือในเครือข่ายเข้าไปดำรงตำแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นวัดบวรนิเวศวิหาร วัดสระเกศ วัดปากน้ำ วัดชนะสงคราม ล้วนแต่เล่นการเมือง ตั้งพรรคประจำวัดของตัวเองขึ้น แล้วก็วางหมากวางเกมกันแย่งชิงอำนาจในคณะสงฆ์ไทย สุดท้ายก็คือ  สร้างความแตกแยกเป็นก๊กเป็นเหล่า  เอามหาเถรสมาคมเป็น  "ตรายาง"  ใครๆ ก็เอาบัญชีของตัวเองเข้าไปปั๊ม แล้วก็อ้างว่า  "ผ่านมหาเถรสมาคมแล้ว"  หนังพระไตรปิฎกและตำแหน่งเจ้าคณะภาค 1 เป็นตัวอย่างอันชัดเจนที่สุด เรื่องพรรค์นี้ หนีไม่พ้นสายตาพญาอินทรีย์อย่าง  "ธัมมชโย"  ไปพ้นดอก วันนี้ มี "

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสถานที่บรรจุพระบรมอัฐิ (ประวัติศาสตร์ที่ชาวไทยไม่ทราบ)

รูปภาพ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วัดวรเชษฐ์ (นอกเกาะ) พระนครศรีอยุธยา (ความมั่นคงของชาติ) ๑๘ มกราคม วันกองทัพไทย ในวันที่ 18 มกราคม 2550 ประกาศเป็น วันกองทัพไทย เป็นปีแรก ซึ่งก่อนหน้านี้คือ “วันยุทธหัตถี” หรือที่เรียกว่า “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” “วันยุทธหัตถี” หรือที่เรียกว่า “วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” หมายถึง วันที่ระะลึกที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อสมเด็จพระมหาอุปราชาของพม่า เมื่อวันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ อันตรงกับวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๑๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๘ กำหนดให้วันที่ ๑๘ มกราคม ของทุกปีเป็น “วันยุทธหัตถี” (แทนวันที่ ๒๕ มกราคม เนื่องจากนายประเสริฐ ณ นคร ราชบัณฑิต ได้คำนวณแล้วพบว่าการนับวันทางจันทรคติของวันกระทำยุทธหัตถีเดิมที่ตรงกับวันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ ที่กำหนดเป็นวันที่ ๒๕ มกราคมนั้น คลาดเคลื่อน จึงได้มีการเปลี่ยนใหม่ให้ตรงกับความเป็นจริง) และถือวันนี้เป็นวันรัฐพิธี โดยให้มีการวางพานพุ่มสักการะ แต่ไม่ถือเป็นวันหยุดราชการ ยุทธหัตถี หมายถึง การต่อสู้ด้วยอาวุธบนหลังช้าง เ

อำนาจอันยิ่งใหญ่แห่งกรรม (สมเด็จพระสังฆราช)

รูปภาพ
พระมหากรุณาที่ทรงมุ่งแสดงให้เห็นอำนาจกรรม     พระพุทธองค์ก่อนจะทรงดับขันธปรินิพพาน ทรงพระประชวรด้วยพระโรคลงพระโลหิต เหตุด้วยทรงรับประเคนอาหารสุกรมัททวะจากนายจุนทะ ผู้มีศรัทธายิ่งนักในพระพุทธองค์ เสวยอาหารนั้นแล้วก็ทรงลงพระโลหิต ข้อที่พึงสังเกตก็คือ เมื่อทรงรับประเคนอาหารจานนั้น ทรงทราบดีแล้วว่าเป็นอาหารมีพิษ จึงรับสั่งให้นำไปฝังเสีย มิให้ประเคนแก่พระอื่น ๆ ที่ตามเสด็จไปด้วย พระองค์เสวย และก็ทรงได้รับพิษจากอาหารนั้น เป็นความทรมานพระองค์มิใช่น้อย ด้วยเหตุทรงมีพระชนมายุมากแล้วถึง   80   พรรษา     ผู้เป็นพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย น่าจะได้แลเห็นพระมหากรุณาที่ต้องทรงมุ่งแสดงให้เห็นอำนาจแห่งกรรม ที่ไม่อาจมีผู้หนีพ้นได้ นึกถึงพระมหากรุณาคุณข้อนี้ให้อย่างยิ่ง ให้ซาบซึ้งถึงใจ ทรงมุ่งแสดงให้ประจักษ์แจ้งชัดเจน จนถึงทรงเป็นตัวอย่างด้วยพระองค์เอง ทรงเสียสละด้วยพระมหากรุณาใหญ่ยิ่งถึงเพียงนี้ ควรหรือที่จะไม่พากันนอบน้อมยอมรับพระมหากรุณานั้นไว้เหนือเศียรเกล้า แล้วมุ่งปฏิบัติตามที่ทรงแสดงสอนด้วยพระวิริยะอุตสาหะลำบากยากแค้นแสนสาหัส จนวาระสุดท้ายแห่งพระชนมชีพ ก็ยังทรงลำบากนักหนาเพื่อทรงสอน เรื่องกรรม

เมื่อมารศาสนาลบหลู่พระศาสนาและทวยเทพ ต้องรับกรรม

รูปภาพ
การปราบมารอภิบาลคนดี โดยสวด โอม นะมัส ศิวาย   เช้า-เย็น และขอพรพระองค์ ให้ มารศาสนาและผู้ทำลายสถาบันได้รับกรรมของตน   ประวัติศาสตร์ คำทำนาย กรุงรัตนโกสินทร์ และ คติธรรมควรศึกษา www.facebook.com/thaihistory ตามคติโบราณในการสร้างพระนครใหม่นั้น ให้สร้างเทวสถานและเสาชิงช้า เพื่อบูชาพระศิวะ ผู้ทรงประทานพร พระนารายณ์ผู้ทรงรักษา พระพรหมผู้สร้าง เมื่อจัดตั้งเทวสถานแล้วก็เป็นสถานที่จะกราบไหว้เทพเจ้าสำคัญ และการสร้างเสาชิงช้าก็เป็นคติในการทำให้บ้านเมืองแข็งแรง พิธีที่ทำให้ประเทศชาติมั่นคงตามลัทธินั้น คือ พระราชพิธีตรียัมปวาย-ตรีปวาย ซึ่งจะทำพิธีโล้ชิงช้าแสดงตำนานเทพเจ้าตอนสร้างโลก เมื่อได้ทำพิธีนี้แล้วถือว่าการสร้างพระนคร ได้สำเร็จลงโดยสมบูรณ์ เมื่อสร้างพระนครเรียบร้อยแล้ว จึงได้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกต่อไป พระราชพิธีนี้ บวงสรวงเทพเจ้าเหล่าพรหมอันมี พระศิวะเจ้า ผู้ประทานพร พระพรหมธาดา ผู้สร้าง และ พระนารายณ์ ผู้รักษา เพื่อให้เมืองนั้น ๆ มีความเจริญรุ่งเรืองภิญโญยศสืบไป เป็นการขอพรวิเศษจากมหาเทพเบื้องบนดลบันดาลให้กรุงรัตนโกสินทร์เป็นปึกแผ่นมั