ประวัติศาสตร์ภารกิจพิทักษ์ป่าของพระราชา
หลวงพ่อเยื้อนกับภารกิจพิทักษ์ป่าของพระราชา http://picasawebcothssomkiert.blogspot.com/2015/06/blog-post.html
๑๓ มิ.ย.๕๘ พล.อ.ประสูตร รั ศมีแพทย์ หน.สง.รอง ผอ.รมน./สปช., คุณปิยพัชร์ สินพงศ์นาคพร อนุกรรมาธิการเศรษฐกิจต่างประเทศ/สปช. ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมรับทราบปัญหาการทำนา/ชาวนาในพื้นที่ จว.ส.ร.และการลักลอบตัดไม้พื้นที่วัดป่าเขาศาลาฯ ต.จรัส อ.บัวเชด จว.ส.ร. โดยมี นายธัชชัย สีสุวรรณ รอง ผวจ.ส.ร.(๑), พ.อ.เอกภาพ สุหร่าย รอง ผอ.รมน.จว.ส.ร.(ท),พ.อ.ศักดิ์ชัย ทองนุ่ม รอง ผบ.จทบ.ส.ร./กกล.รส.จว.ส.ร.,พ.อ.สิปปกรณ์ แก้วมณี ศปป.๖ กอ.รมน.,นายวัทธิกร ใสงาม พาณิชย์จังหวัดสุรินทร์,นายธนาบูลย์ สุขปัญญา ผอ.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุรินทร์,น.ส.ณชณฆ์ ตรงใจ ผจก.ไชนี่ วันวันวัน,จนท.สหกรณ์เพื่อการเกษตร, ผจก.สหกรณ์การเกษตรทั้ง ๑๗ อำเภอ, จนท.ธกส.จว.ส.ร. และ จนท.จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้การต้อนรับและนำตรวจสถานที่ โดยเมื่อเวลา ๑๑๐๐ ไปตรวจเยี่ยมสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย ที่ บ.ทัพไทย ต.ทมอ อ.ปราสาท จว.ส.ร. มี สมาชิกสหกรณ์ร่วมให้การต้อนรับ ประมาณ ๓๐ คน โดยมี นางกัญญา อ่อนศรี ผญบ.ทัพไทย/ประธานสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย จำกัด เป็นผู้บรรยาย และมี ดร.สุทธิศักดิ์ แก้วแกมจันทร์ อาจารย์ ม.เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นที่ปรึกษาสหกรณ์ เวลา ๑๒๓๐ เดินทางไปเยี่ยมชมศูนย์แสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ “ผกาสะเร็น” บ.รำเบอะ ต.เชื้อเพลิง อ.ปราสาท จว.ส.ร. เวลา ๑๓๓๐ เดินทางไปตรวจเยี่ยมโครงการเกษตรอินทรีย์ของบริษัทไชนี่ วันวันวัน บ.นาสาม ต.นาบัว อ.เมือง จว.ส.ร. โดยมี น.ส.ณชณฆ์ ตรงใจ ผจก.บริษัทฯ บรรยาย มีสมาชิกสหกรณ์ให้การต้อนรับ ประมาณ ๕๐ คน เวลา๑๔๓๐ เดินทางไปตรวจเยี่ยม ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุรินทร์ บ.รำเบอะ ต.เชื้อเพลิง อ.ปราสาท มี นายธนาบูลย์ สุขปัญญา ผอ.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เป็นผู้บรรยาย มีสมาชิกเกษตรกรร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ร่วมให้การต้อนรับประมาณ ๒๐๐ คน เวลา๑๕๓๐ เดินทางไปรับฟังบรรยายสรุปที่สหกรณ์การเกษตรปราสาท จำกัด อ.ปราสาท โดยมี พ.อ.เอกภาพ สุหร่าย รอง ผอ.รมน.จว.ส.ร.บรรยายสรุปสถาพปัญหาของชาวนาในพื้นที่ จว.ส.ร., พ.อ.สิปปกรณ์ แก้วมณี บรรยายเกี่ยวกับสุรินทร์โมเดล จากนั้น พล.อ.ประสูตร ได้ซักถามข้อสงสัย/ตอบปัญหาจาก จนท.สหกรณ์การเกษตร และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง มีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ ๕๐ คน ยุติการประชุม เวลาประมาณ ๑๗๓๐ และเมื่อ ๑๓ มิ.ย.๕๘,๒๓๐๐ พระราชวิสุทธิมุนี(หลวงตาเยื้อน ขันติพโล) เจ้าอาวาสวัดเขาศาลาอตุลฐานะ
จาโร บ.จรัส อ.บัวเชด จว.ส.ร.ได้เดินทางไปพบ พล.อ.ประสูตร รัศมีแพทย์ ที่โรงแรมมาเจสติก อ.เมือง จว.ส.ร. เพื่ออธิบายโครงการต่างๆ เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการลักลอบตัดไม้ในพื้นที่ป่าโครงการพระราชดำริวัดเขาศาลาฯ เวลาประมาณ ๒๓๔๕ จึงเดินทางกลับ จากการเดินทางมาตรวจเยี่ยมรับทราบปัญหาชาวนา/การลักลอบตัดไม้ในพื้นที่ป่าโครงการพระราชดำริวัดเขาศาลาฯ
สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
๑. ปัญหาชาวนา
๑. สหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย ขอให้พิจารณาช่วยเหลืองบประมาณตั้งโรงสี และตู้อบเนื้อแดดเดียว(จากกรมวิทยาศาสตร์) คณะฯ ชื่นชมกับชุมชนเกษตรอินทรีย์ที่มีความเข้มแข็ง บริหารจัดการได้ครบวงจร สามารถช่วยเหลือตนเองได้ สามารถส่งข้าวไปจำหน่ายยังสหรัฐอเมริกาได้ เป็นต้นแบบที่น่าสนใจ และจะนำเสนอ นรม.ให้มาเยี่ยมชมเพื่อหาทางสนับสนุนและเป็นตัวอย่างให้แก่กลุ่มสหกรณ์อื่น ซึ่งการรวมกลุ่มของราษฎร จะประสบผลสำเร็จนั้น จะต้องได้รับการสนับสนุนจากภาคราชการและองค์กรอื่นๆ เช่น นักวิชาการจากสถานศึกษา มาเป็นที่ปรึกษา แต่ประเด็นสำคัญคือตัวราษฎรและผู้นำของกลุ่มจะต้องมีความเข้มแข็ง มีวินัย มีขีดความสามารถในการติดต่อประสานงานหาตลาดได้ด้วยตนเอง
๒. สหกรณ์การเกษตร ขอให้ทางรัฐบาลปล่อยเงินกู้ให้ทางสหกรณ์ก่อนเดือน ต.ค. เนื่องจากปีที่ผ่านมาปล่อยเงินกู้ให้ในเดือน ธ.ค. ล่าช้าไม่สามารถซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกรได้ทันเวลา และเงินที่ปล่อยให้สหกรณ์ไม่เพียงพอที่จะซื้อข้างเปลือกจากเกษตรกรทำให้เกษตรกรจำต้องนำข้าวเปลือกไปขายให้แก่โรงสี (ถูกกดราคา)
๓. ปัญหาข้าวสารที่รัฐบาลก่อนรับจำนำและข้าวจากโครงการรับจำนำข้าวในยุ้งฉางที่ยังไม่สามารถระบายออกได้ รับจะประสานกับนายทุนจากประเทศจีนให้มาสำรวจตลาดข้าวในพื้นที่ จว.ส.ร. และให้พบกับกลุ่มสหกรณ์/เกษตรกรโดยตรง โดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลางชาวไทย ที่มักจะสร้างเงื่อนไขราคาทำให้เกิดอุปสรรคต่อการค้า ซึ่งประเทศจีนมีความต้องการข้าวหอมมะลิอีกเป็นจำนวนมาก
๔. ปัญหาของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว งบประมาณการตรวจแปลงปลูกเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ไม่เพียงพอ (ค่าตรวจแปลงละ ๘๐๐ บาท) ซึ่งงบประมาณปี ๕๙ ทางศูนย์ฯ ของบประมาณตรวจแปลงปลูกเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ไป จำนวน ๓,๕๐๐ แปลง ถูกตัดงบเหลือ ให้ตรวจได้ จำนวน ๑,๕๐๐ แปลง ทั้งที่สมาชิกสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ – ๑๒,๐๐๐ตัน/ปี จึงทำให้ทางศูนย์ฯ ไม่สามารถสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ให้แก่เกษตรกรชาวนาได้เพียงพอ ซึ่งทางคณะรับจะนำไปเสนอหน่วยเหนือต่อไป
๕. โครงการ ๑ ตำบล ๑ ล้าน ที่มีโครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เป็นโครงการที่สอดคล้องในการลดต้นทุนการผลิตเห็นควรสนับสนุนขยายไปทุกตำบลเป็นโครงการต่อเนื่องต่อไป
๒. ปัญหาการลักลอบตัดไม้ในพื้นที่โครงการพระราชดำริวัดเขาศาลาฯ
๒.๑ ในโครงการสร้างรั้ว/เส้นทาง/คูคลอง เพื่อความสะดวกในการ ลว.และเป็นเครื่องกีดขว้างป้องกันกลุ่มลักลอบตัดไม้ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเขียนโครงการเสนอไปยังหน่วยเหนือโดยเฉพาะหน่วยที่รับผิดชอบพื้นที่ทั้ง กกล.สุรนารี หรือ ทสจ.
๒.๒ กำลัง ลว.ป้องกัน ส่วนที่ไม่มีงบประมาณ เบี้ยเลี้ยง สป.๓ อาวุธยุทโธปกรณ์ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/จัดกำลังพล เขียนโครงการขอสนับสนุนงบประมาณเพื่อจะได้นำเสนอเหนือและผู้บังคับบัญชาต่อไป
หน้าหลัก
ผู้บังคับบัญชา
การปฏิบัติงาน
สรุปรายงานนำเรียน ผอ.รมน./นรม.
บทความ / ข่าวสาร
การติดต่อ
เจ้าหน้าที่เท่านั้น
สุรินทร์ กับภารกิจปกป้องผืนป่า
ผวจ.สุรินทร์ รอง ผอ.รมน.สุรินทร์
นายนิรันดร์ กัลยาณมิตร พ.อ.เอกภาพ สุหร่าย
ผู้ว่าราชาการจังหวัด/ผอ .รมน.จังหวัด ส.ร. รอง ผอ.รมน.จังหวัด ส.ร.(ท.)
่
๑๓ มิ.ย.๕๘ พล.อ.ประสูตร รั ศมีแพทย์ หน.สง.รอง ผอ.รมน./สปช., คุณปิยพัชร์ สินพงศ์นาคพร อนุกรรมาธิการเศรษฐกิจต่างประเทศ/สปช. ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมรับทราบปัญหาการทำนา/ชาวนาในพื้นที่ จว.ส.ร.และการลักลอบตัดไม้พื้นที่วัดป่าเขาศาลาฯ ต.จรัส อ.บัวเชด จว.ส.ร. โดยมี นายธัชชัย สีสุวรรณ รอง ผวจ.ส.ร.(๑), พ.อ.เอกภาพ สุหร่าย รอง ผอ.รมน.จว.ส.ร.(ท),พ.อ.ศักดิ์ชัย ทองนุ่ม รอง ผบ.จทบ.ส.ร./กกล.รส.จว.ส.ร.,พ.อ.สิปปกรณ์ แก้วมณี ศปป.๖ กอ.รมน.,นายวัทธิกร ใสงาม พาณิชย์จังหวัดสุรินทร์,นายธนาบูลย์ สุขปัญญา ผอ.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุรินทร์,น.ส.ณชณฆ์ ตรงใจ ผจก.ไชนี่ วันวันวัน,จนท.สหกรณ์เพื่อการเกษตร, ผจก.สหกรณ์การเกษตรทั้ง ๑๗ อำเภอ, จนท.ธกส.จว.ส.ร. และ จนท.จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้การต้อนรับและนำตรวจสถานที่ โดยเมื่อเวลา ๑๑๐๐ ไปตรวจเยี่ยมสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย ที่ บ.ทัพไทย ต.ทมอ อ.ปราสาท จว.ส.ร. มี สมาชิกสหกรณ์ร่วมให้การต้อนรับ ประมาณ ๓๐ คน โดยมี นางกัญญา อ่อนศรี ผญบ.ทัพไทย/ประธานสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย จำกัด เป็นผู้บรรยาย และมี ดร.สุทธิศักดิ์ แก้วแกมจันทร์ อาจารย์ ม.เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นที่ปรึกษาสหกรณ์ เวลา ๑๒๓๐ เดินทางไปเยี่ยมชมศูนย์แสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ “ผกาสะเร็น” บ.รำเบอะ ต.เชื้อเพลิง อ.ปราสาท จว.ส.ร. เวลา ๑๓๓๐ เดินทางไปตรวจเยี่ยมโครงการเกษตรอินทรีย์ของบริษัทไชนี่ วันวันวัน บ.นาสาม ต.นาบัว อ.เมือง จว.ส.ร. โดยมี น.ส.ณชณฆ์ ตรงใจ ผจก.บริษัทฯ บรรยาย มีสมาชิกสหกรณ์ให้การต้อนรับ ประมาณ ๕๐ คน เวลา๑๔๓๐ เดินทางไปตรวจเยี่ยม ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุรินทร์ บ.รำเบอะ ต.เชื้อเพลิง อ.ปราสาท มี นายธนาบูลย์ สุขปัญญา ผอ.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุรินทร์ เป็นผู้บรรยาย มีสมาชิกเกษตรกรร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ร่วมให้การต้อนรับประมาณ ๒๐๐ คน เวลา๑๕๓๐ เดินทางไปรับฟังบรรยายสรุปที่สหกรณ์การเกษตรปราสาท จำกัด อ.ปราสาท โดยมี พ.อ.เอกภาพ สุหร่าย รอง ผอ.รมน.จว.ส.ร.บรรยายสรุปสถาพปัญหาของชาวนาในพื้นที่ จว.ส.ร., พ.อ.สิปปกรณ์ แก้วมณี บรรยายเกี่ยวกับสุรินทร์โมเดล จากนั้น พล.อ.ประสูตร ได้ซักถามข้อสงสัย/ตอบปัญหาจาก จนท.สหกรณ์การเกษตร และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง มีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ ๕๐ คน ยุติการประชุม เวลาประมาณ ๑๗๓๐ และเมื่อ ๑๓ มิ.ย.๕๘,๒๓๐๐ พระราชวิสุทธิมุนี(หลวงตาเยื้อน ขันติพโล) เจ้าอาวาสวัดเขาศาลาอตุลฐานะ
จาโร บ.จรัส อ.บัวเชด จว.ส.ร.ได้เดินทางไปพบ พล.อ.ประสูตร รัศมีแพทย์ ที่โรงแรมมาเจสติก อ.เมือง จว.ส.ร. เพื่ออธิบายโครงการต่างๆ เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการลักลอบตัดไม้ในพื้นที่ป่าโครงการพระราชดำริวัดเขาศาลาฯ เวลาประมาณ ๒๓๔๕ จึงเดินทางกลับ จากการเดินทางมาตรวจเยี่ยมรับทราบปัญหาชาวนา/การลักลอบตัดไม้ในพื้นที่ป่าโครงการพระราชดำริวัดเขาศาลาฯ
สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
๑. ปัญหาชาวนา
๑. สหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย ขอให้พิจารณาช่วยเหลืองบประมาณตั้งโรงสี และตู้อบเนื้อแดดเดียว(จากกรมวิทยาศาสตร์) คณะฯ ชื่นชมกับชุมชนเกษตรอินทรีย์ที่มีความเข้มแข็ง บริหารจัดการได้ครบวงจร สามารถช่วยเหลือตนเองได้ สามารถส่งข้าวไปจำหน่ายยังสหรัฐอเมริกาได้ เป็นต้นแบบที่น่าสนใจ และจะนำเสนอ นรม.ให้มาเยี่ยมชมเพื่อหาทางสนับสนุนและเป็นตัวอย่างให้แก่กลุ่มสหกรณ์อื่น ซึ่งการรวมกลุ่มของราษฎร จะประสบผลสำเร็จนั้น จะต้องได้รับการสนับสนุนจากภาคราชการและองค์กรอื่นๆ เช่น นักวิชาการจากสถานศึกษา มาเป็นที่ปรึกษา แต่ประเด็นสำคัญคือตัวราษฎรและผู้นำของกลุ่มจะต้องมีความเข้มแข็ง มีวินัย มีขีดความสามารถในการติดต่อประสานงานหาตลาดได้ด้วยตนเอง
๒. สหกรณ์การเกษตร ขอให้ทางรัฐบาลปล่อยเงินกู้ให้ทางสหกรณ์ก่อนเดือน ต.ค. เนื่องจากปีที่ผ่านมาปล่อยเงินกู้ให้ในเดือน ธ.ค. ล่าช้าไม่สามารถซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกรได้ทันเวลา และเงินที่ปล่อยให้สหกรณ์ไม่เพียงพอที่จะซื้อข้างเปลือกจากเกษตรกรทำให้เกษตรกรจำต้องนำข้าวเปลือกไปขายให้แก่โรงสี (ถูกกดราคา)
๓. ปัญหาข้าวสารที่รัฐบาลก่อนรับจำนำและข้าวจากโครงการรับจำนำข้าวในยุ้งฉางที่ยังไม่สามารถระบายออกได้ รับจะประสานกับนายทุนจากประเทศจีนให้มาสำรวจตลาดข้าวในพื้นที่ จว.ส.ร. และให้พบกับกลุ่มสหกรณ์/เกษตรกรโดยตรง โดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลางชาวไทย ที่มักจะสร้างเงื่อนไขราคาทำให้เกิดอุปสรรคต่อการค้า ซึ่งประเทศจีนมีความต้องการข้าวหอมมะลิอีกเป็นจำนวนมาก
๔. ปัญหาของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว งบประมาณการตรวจแปลงปลูกเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ไม่เพียงพอ (ค่าตรวจแปลงละ ๘๐๐ บาท) ซึ่งงบประมาณปี ๕๙ ทางศูนย์ฯ ของบประมาณตรวจแปลงปลูกเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ไป จำนวน ๓,๕๐๐ แปลง ถูกตัดงบเหลือ ให้ตรวจได้ จำนวน ๑,๕๐๐ แปลง ทั้งที่สมาชิกสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ – ๑๒,๐๐๐ตัน/ปี จึงทำให้ทางศูนย์ฯ ไม่สามารถสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ให้แก่เกษตรกรชาวนาได้เพียงพอ ซึ่งทางคณะรับจะนำไปเสนอหน่วยเหนือต่อไป
๕. โครงการ ๑ ตำบล ๑ ล้าน ที่มีโครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เป็นโครงการที่สอดคล้องในการลดต้นทุนการผลิตเห็นควรสนับสนุนขยายไปทุกตำบลเป็นโครงการต่อเนื่องต่อไป
๒. ปัญหาการลักลอบตัดไม้ในพื้นที่โครงการพระราชดำริวัดเขาศาลาฯ
๒.๑ ในโครงการสร้างรั้ว/เส้นทาง/คูคลอง เพื่อความสะดวกในการ ลว.และเป็นเครื่องกีดขว้างป้องกันกลุ่มลักลอบตัดไม้ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเขียนโครงการเสนอไปยังหน่วยเหนือโดยเฉพาะหน่วยที่รับผิดชอบพื้นที่ทั้ง กกล.สุรนารี หรือ ทสจ.
๒.๒ กำลัง ลว.ป้องกัน ส่วนที่ไม่มีงบประมาณ เบี้ยเลี้ยง สป.๓ อาวุธยุทโธปกรณ์ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/จัดกำลังพล เขียนโครงการขอสนับสนุนงบประมาณhttp://www.isoc04.go.th/?isonews=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B2
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
ร่วมแสดงความคิดเห็นได้ครับ