ประวัติศาสตร์ การประกอบธุรกิจไร้จริยธรรมในชาติไทย มหาชนต้องทราบ?
เป็นครั้งแรก ที่ผู้บริหารระดับสูงของธุร กิจในเครือซีพี ทำผิดแล้วถูกจับได้ ถูกลงโทษตามกฎหมาย
ไม่ใช่แค่ หนึ่งหรือสองคน แต่เป็นทีม เป็นขบวนการที่มีผู้ร่วมสมค บคิดถึง สี่คน มีตำแหน่งสูงๆ เป็นถึงซีอีโอ และรองซีอีโอ เป็นศาตราจารย์พิเศษด้านกฎห มาย ทำผิดในเรื่องเดียวกัน คือ ใช้ข้อมูลภายใน ในการซื้อขายหุ้น หรือ อินไซเดอร์ เทรดดิ้ง ซึ่งเป็นการกระทำผิด ตาม พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย ์ พ.ศ. 2535
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์แล ะตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต. )เผยแพร่ข้อมูลเมื่อวันที่ 2 ธันวาคมที่ผ่านมาว่า คณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำส ั่งเปรียบเทียบปรับ นายก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัทซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) เป็นเงิน 30 ล้าน 2 แสนบาท ปรับนายปิยะวัฒน์ ฐิตะสัทธาวรกุล กรรมการผู้จัดการ ซีพี ออลล์ 725,000 บาท ปรับ นายพิทยา เจียรวิสิฐกุล รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ซีพีออลล์ 979,500 บาท และปรับ นายอธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการและหัวหน้า คณะผู้บริหารกลุ่มด้านกฎหมา ย บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด 1.4 ล้านบาท
ทั้งสี่คนนี้ รู้ล่วงหน้าว่า ซีพีออลล์ จะซื้อ กิจการบริษัท สยามแม็คโคร เจ้าของห้าง แม็คโคร เพราะเป็นกรรมการ ผู้บริหารซีพีออลล์ บางคนได้เข้าร่วมในการเจรจา ซื้อขายกับบริษัทแม่ของสยาม แม็คโครที่ เนเธอร์แลนด์ด้วย นายอธึก แม้จะไม่ได้มีตำแหน่งในซีพี ออลล์ แต่เป็นที่ปรึกษาใหญ่ด้านกฎ หมายของเครือซีพี ซึ่งรับรู้และร่วมในการเจรจ าซื้อขายด้วย
ทั้งสี่คนนี้ ดักซื้อหุ้นMAKO รอไว้ล่วงหน้า ระหว่างวันที่ 10-22 เมษายน 2556 ก่อนที่ แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งป ระเทศไทย หลังปิดการซื้อขายหุ้น บ่ายวันที่ 22 เมษายน
นายก่อศักดิ์ ซึ่งเป็นรองประธานกรรมการ และเป็นซีอีโอ ซีพีออลล์ ซื้อหุ้นMAKRO 118,300 หุ้น นายปิยะวัฒน์ ซึ่งเป็นเอ็มดี ซื้อ 5,000 หุ้น นายพิทยา ซึ่งเป็นรองซีอีโอ ซื้อ 75,00 หุ้นโดยใช้บัญชีของน้องชาย ชื่อนายสมศักดิ์ และ นายอธึก ซึ่งเป็นรองประธานกรรมการ และหัวหน้าคณะผู้บริหารด้าน กฎหมาย บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น ซื้อ 6,000 หุ้น โดยซื้อผ่านบัญชีลูกสาว นางสาวอารียา ซึ่งทำให้ทั้งนายสมศักดิ์ และ นส.อารียา ถูก ก.ล.ต. ปรับรายละ 333,333 บาท ข้อ หาช่วยพี่ชาย และพ่อ ทำความผิด
อินไซเดอร์ เทรดดิ้ง หรือ การซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูล วงใน เป็นความผิดตามมาตรา 241 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย ์ พ.ศ. 2535 เป็นพฤติกรรมที่ไม่ชอบธรรม เป็นการเอาเปรียบบุคคลภายนอ กคือ นักลงทุนทั่วไป ซึ่งไม่มีโอกาสรับรู้ข้อมูล เท่าเทียมกับผู้บริหารซีพีอ อลล์ และที่ปรึกษากฎหมายทั้ง 4 คน
อินไซเดอร์ เทรดดิ้ง เป็นความผิดทางอาญา มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 2 เท่าของผลประโยชน์ที่ได้จาก การใช้ข้อมูลภายใน แต่ไม่ต่ำกว่า 5 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
นายก่อศักดิ์ โดน ปรับ 30 ล้านบาท แสดงว่า น่าจะได้กำไรจากอินไซเดอร์ เทรดิ้ง ครั้งนี้ ประมาณ 15 ล้านบาท ภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์ คนไทยกว่าค่อนประเทศ ใช้เวลาเกือบทั้งชีวิต ก็ไม่แน่ว่า จะมีโอกาสหยิบเงินล้าน นายก่อศักดิ์ ใช้ตำแหน่งซีอีโอ สร้างความร่ำรวยให้กับตัวเอ งมากขึ้น จากที่รวยอยู่แล้ว
เช่นเดียวกับ บริษัทซีพีออลล์ เจ้าของแฟรนไชส์ เซเว่น อีเลฟเว่น ซึ่งร่ำรวยมหาศาล แต่ก็ยังไม่พอ ตั้งตาตั้งหน้าขยายร้าน ผลิตสินค้าแข่งกับซัพพลายเอ อร์ กินรวบทั้งต้นน้ำ ปลายน้ำ
อย่างไรก็ตาม มาตรา 317 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย ์ พ.ศ. 2535 กำหนดให้ความผิดฐานใช้ข้อมู ลวงใน สามารถเปรียบเทียบความผิดได ้ หากผู้ถูกกล่าวหายอมให้เปรี ยบเทียบ และยอมชำระค่าปรับ ก็ให้ถือว่า คดีเป็นอันเลิกกัน
ดังนั้น ทีมผู้บริหารซีพีออลล์ จึงรอดพ้นจากการถูกดำเนินคด ี เพราะยอมให้ ก.ล.ต. ปรับแต่โดยดี
**ถึงกระนั้น กฎระเบียบของ ก.ล.ต. ว่าด้วย คุณสมบัติของ กรรมการบริษัทจดทะเบียนในตล าดหลักทรัพย์ นอกจากคุณสมบัติทั่วไปเช่น ไม่เป็นบุคคล้มละลาย ไม่ไร้ความสามารถ ไม่เคยถูกจำคุกในคดีทุจริต ฯลฯ แล้ว ยังต้องไม่มีลักษณะ “ ขาดความน่าไว้วางใจ”
หนึ่งในลักษณะขาดความน่าไว้ วางใจก็คือ “ มีพฤติกรรมที่เป็นการกระทำอ ันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปร ียบผู้ลงทุนในการซื้อขายหลั กทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่ว งหน้า หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรื อสนับสนุนการกระทำดังกล่าว “**
แม้คดีอินไซเดอร์ เทรดดิ้ง ของผู้บริหารซีพีออลล์ จะจบไปแล้ว เพราะผู้กระทำผิดยอมให้ปรับ แต่ถ้า ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ และ คณะกรรมการบริษัท ซีพีออลล์ ยึดมั่นในนโยบายกำกับกิจการ ที่ดี ตามที่โฆษณา ก็ควรจะทบทวนดูว่า มีใครที่มีลักษณะขาดความน่า ไว้วางใจ ต้องพ้นจากตำแหน่งกรรมการหร ือไม่
http://m.manager.co.th/ Politics/detail/ 9580000134077
ไม่ใช่แค่ หนึ่งหรือสองคน แต่เป็นทีม เป็นขบวนการที่มีผู้ร่วมสมค
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์แล
ทั้งสี่คนนี้ รู้ล่วงหน้าว่า ซีพีออลล์ จะซื้อ กิจการบริษัท สยามแม็คโคร เจ้าของห้าง แม็คโคร เพราะเป็นกรรมการ ผู้บริหารซีพีออลล์ บางคนได้เข้าร่วมในการเจรจา
ทั้งสี่คนนี้ ดักซื้อหุ้นMAKO รอไว้ล่วงหน้า ระหว่างวันที่ 10-22 เมษายน 2556 ก่อนที่ แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งป
นายก่อศักดิ์ ซึ่งเป็นรองประธานกรรมการ และเป็นซีอีโอ ซีพีออลล์ ซื้อหุ้นMAKRO 118,300 หุ้น นายปิยะวัฒน์ ซึ่งเป็นเอ็มดี ซื้อ 5,000 หุ้น นายพิทยา ซึ่งเป็นรองซีอีโอ ซื้อ 75,00 หุ้นโดยใช้บัญชีของน้องชาย ชื่อนายสมศักดิ์ และ นายอธึก ซึ่งเป็นรองประธานกรรมการ และหัวหน้าคณะผู้บริหารด้าน
อินไซเดอร์ เทรดดิ้ง หรือ การซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูล
อินไซเดอร์ เทรดดิ้ง เป็นความผิดทางอาญา มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 2 เท่าของผลประโยชน์ที่ได้จาก
นายก่อศักดิ์ โดน ปรับ 30 ล้านบาท แสดงว่า น่าจะได้กำไรจากอินไซเดอร์ เทรดิ้ง ครั้งนี้ ประมาณ 15 ล้านบาท ภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์ คนไทยกว่าค่อนประเทศ ใช้เวลาเกือบทั้งชีวิต ก็ไม่แน่ว่า จะมีโอกาสหยิบเงินล้าน นายก่อศักดิ์ ใช้ตำแหน่งซีอีโอ สร้างความร่ำรวยให้กับตัวเอ
เช่นเดียวกับ บริษัทซีพีออลล์ เจ้าของแฟรนไชส์ เซเว่น อีเลฟเว่น ซึ่งร่ำรวยมหาศาล แต่ก็ยังไม่พอ ตั้งตาตั้งหน้าขยายร้าน ผลิตสินค้าแข่งกับซัพพลายเอ
อย่างไรก็ตาม มาตรา 317 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย
ดังนั้น ทีมผู้บริหารซีพีออลล์ จึงรอดพ้นจากการถูกดำเนินคด
**ถึงกระนั้น กฎระเบียบของ ก.ล.ต. ว่าด้วย คุณสมบัติของ กรรมการบริษัทจดทะเบียนในตล
หนึ่งในลักษณะขาดความน่าไว้
แม้คดีอินไซเดอร์ เทรดดิ้ง ของผู้บริหารซีพีออลล์ จะจบไปแล้ว เพราะผู้กระทำผิดยอมให้ปรับ
http://m.manager.co.th/
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
ร่วมแสดงความคิดเห็นได้ครับ