#สรุปข้อมูลการทำลายโบราณสถานวัดกัลยาณมิตร (โดย สมเกียรติ กาญจนชาติ คณะปกป้องโบราณสถานในพระพุทธศาสนา)
‘อิฐเก่าๆแผ่นเดียวก็มีค่า’ ในหลวงรัชกาลที่ 9 กับโบราณคดีไทย
#ร่วมปกป้องโบราณสถานในพระพุทธศาสนา
#ด่วนหยุดมารศาสนา
#การทำลายพระพุทธศาสนาและประวั ติศาสตร์ชาติไทย
#การทำลายพระพุทธศาสนาและประวั
มหากาพย์คดีวัดกัลยาณมิตร บทพิสูจน์ธาตุแท้ ป.ป.ช.
เผยแพร่: 10 ธ.ค. 2559 07:04:00 โดย: MGR Online
ผู้จัดการสุดสัปดาห์ - มีข่าวการทำลายโบราณสถานวัด กัลยาณมิตร ศาสนสถานเก่าแก่ของชาติที่ต ั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ริมแม่น ้ำเจ้าพระยาฝั่งธนบุรี ซึ่งวัดนี้ได้มีการก่อสร้าง ขึ้นแต่ครั้งรัชกาลที่ 3 มีประวัติศาสตร์ยาวนานผ่านม ากว่า 190 ปี และได้มีการขึ้นทะเบียนเป็น โบราณสถานประกาศในราชกิจจาน ุเบกษาแต่ปี 2492
ใครจะทุบทำลายทำให้เสื่อมค่ า หรือแม้แต่ปรับปรุงซ่อมแซมอ ะไรไม่ได้ ต้องห้ามตามพระราชบัญญัติโบ ราณสถานมาตรา 10 มีหน้าที่แจ้งให้กรมศิลปากร ดำเนินการ ใครฝ่าฝืนมีโทษจำคุกถึงสิบป ีตามมาตรา 38
ปัญหาก็คือ การทำลายโบราณสถานในวัดนี้เ กิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกันมา กว่าสิบปีแต่ พ.ศ.2546 ถึงปัจจุบัน หอระฆัง หอไตร และศาลา กุฏิพระโบราณ สิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสต ร์มรดกของชาติที่มีค่าเป็นอ นันต์ คิดเป็นเงินไม่ได้ ถูกเจ้าอาวาสสั่งทุบทำลายไป 22 รายการ เหมือนบ้านเมืองไม่มีกฎหมาย คุ้มครองโบราณสถานเช่นเดียว กับนานาอารยประเทศ
ข้อเท็จจริงก็คือ หลังจากกรมศิลปากรทราบจากปร ะชาชนว่า มีการทุบทำลายโบราณสถานในวั ด ก็ได้ไปตรวจสอบรวบรวมหลักฐา นแจ้งความกล่าวโทษต่อพนักงา นสอบสวนที่สถานีตำรวจให้ดำเ นินคดีเจ้าอาวาสผู้สั่งการแ ต่ปี 2553 ต่างกรรมต่างวาระกันถึง 18 คดี และที่เกิดขึ้นใหม่อีก 1 คดี จับคนต่างด้าวไป 2 คน ถือว่าอธิบดีกรมศิลปากรได้ท ำหน้าที่ในฐานะเจ้าพนักงานผ ู้รับผิดชอบตามกฎหมายไปส่วน หนึ่งแล้ว
แต่ไม่น่าเชื่อว่าการสอบสวน การกระทำความผิดดังกล่าวตั้ งแต่พนักงานสอบสวนสถานีตำรว จนครบาลบุปผาราม กองบังคับการ ไปจนถึงผู้บัญชาการตำรวจนคร บาลได้สรุปการสอบสวนเสนอให้ อัยการสั่งไม่ฟ้องไปถึง 14 คดี ด้วยเหตุผลว่าการทุบทำลายโบ ราณสถานดังกล่าวเป็นการกระท ำเพื่อพัฒนาวัดทำนุบำรุงพุท ธศาสนา ไม่มีเจตนาทำลายโบราณสถาน! มันมีอยู่ในบทกฎหมายมาตราใด ให้อ้างได้เช่นนั้น
ส่วนอัยการเห็นท่าไม่ดี หากใช้เหตุผลนี้สั่งไม่ฟ้อง อนาคตอาจลำบาก เลยให้เหตุผลข้างๆ คูๆ ว่าเป็นการบูรณะให้คงสภาพเด ิมไม่ใช่การทำลายหรือทำให้เ สียหายเสื่อมค่า ทั้งที่ข้อเท็จจริงโบราณสถา นหลายรายการ เช่น หอระฆังและหอไตรได้ถูกทุบกล ายเป็นเศษอิฐปูนหายไปหมดสิ้ น
การสอบสวนและสั่งไม่ฟ้องผู้ ต้องหาของอัยการทั้ง 14 คดีดังกล่าวได้ทำให้การแจ้ง ความดำเนินคดีของกรมศิลปากร ไม่มีผลยับยั้งการทำลายโบรา ณสถานในวัดกัลยาณมิตรเลย โดยได้มีการทุบทำลายอย่างต่ อเนื่องในเวลาต่อมา
จนกระทั่งกลุ่มประชาชนปกป้อ งโบราณสถานได้มีหนังสือถึงผ ู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อัยการสูงสุดและคณะกรรมการป ้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ กล่าวโทษให้ดำเนินคดีอาญาแล ะวินัยกับพนักงานสอบสวนและอ ัยการที่สั่งคดีมิชอบด้วยกฎ หมายทุกระดับทุกคน ผู้รับผิดชอบจึงไม่กล้าสรุป การสอบสวนเสนอให้อัยการสั่ง ไม่ฟ้องคดีที่เหลือ รอดูท่าทีอยู่กระทั่งปัจจุบ ัน
นั่นคือเหตุผลสำคัญที่เป็นค ำตอบว่า เหตุใดพระราชบัญญัติโบราณสถ านประเทศไทยจึงไม่สามารถคุ้ มครองสิ่งก่อสร้างที่มีคุณค ่าทางประวัติของชาติเอาไว้ไ ด้ ถูกทุบทำลายกันไปต่อหน้าต่อ ตาประชาชนและเจ้าพนักงานผู้ รับผิดชอบมากมายเหมือนบ้านป ่าเมืองเถื่อน ทั้งนี้ ก็เพราะการสอบสวนคดีอาญาประ เทศเรามีปัญหาอย่างร้ายแรงน ั่นเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวมศูน ย์อำนาจผูกขาดการสอบสวนไว้ท ี่สำนักงานตำรวจแห่งชาติทั้ งหมด ผู้บังคับบัญชาตำรวจจะสั่งใ ห้พนักงานสอบสวนสรุปสำนวนเส นออัยการสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้อ งโดยอ้างเหตุผลพิลึกพิเรนทร ์กันอย่างไรก็ได้ ส่วนใหญ่ต้องจำใจทำตาม และอัยการก็ไม่เข้มแข็งเพีย งพอที่จะสั่งคดีไปตามข้อเท็ จจริงและพยานหลักฐานที่ปราก ฏ
เพราะหากไม่มีการทำลายโบราณ สถานเช่นที่อัยการวินิจฉัยจ ริง นั่นเท่ากับว่าทั้งหมดนั้นอ ธิบดีกรมศิลปากรปฏิบัติราชก ารมั่ว ไปแจ้งความเท็จต่อพนักงานสอ บสวนหรืออย่างไร? และสื่อก็ตั้งประเด็นถกเถีย งงงกันอยู่ได้ว่า สิ่งก่อสร้างที่ถูกทุบทำลาย ไปนั้นเป็นโบราณสถานหรือไม่ ?
ก็อธิบดีกรมศิลปากรนายทะเบี ยนตามกฎหมายยืนยันว่าสิ่งก่ อสร้างนั้นเป็นโบราณสถานของ ชาติ ขึ้นทะเบียนไว้ตามกฎหมาย แล้วใครจะมีสิทธิ์โต้แย้งบอ กว่าไม่เป็นได้เล่า เรื่องนี้อัยการสูงสุดมีหน้ าที่ต้องตรวจสอบหลักฐานการส อบสวน และการสั่งคดีของพนักงานอัย การผู้ใต้บังคับบัญชาทั้ง 14 คดีว่าเป็นการสอบสวนและสั่ง คดีที่สอดคล้องกับพยานหลักฐ านชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ นำมาสั่งการใหม่ให้ถูกต้อง ฟ้องผู้กระทำผิดต่อศาลให้พิ จารณาโทษตามกฎหมาย รวมทั้งดำเนินคดีอาญาวินัยร ้ายแรงอัยการผู้รับผิดชอบทุ กระดับ
ส่วนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชา ติก็ต้องสั่งการให้มีการดำเ นินคดีตามกฎหมายทั้งอาญาและ วินัย มีคำตอบเป็นหนังสือตามที่เค รือข่ายประชาชนกล่าวโทษพนัก งานสอบสวนผู้รับผิดชอบทุกคน ทุกระดับตั้งแต่สถานีตำรวจไ ปจนถึงกองบัญชาการตำรวจนครบ าล เพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่างต ่อผู้อื่นต่อไปด้วยเช่นกัน
ในการปฏิรูปประเทศครั้งนี้ องค์กรที่ต้องมีการปฏิรูปให ญ่ นอกจากตำรวจแห่งชาติที่ต้อง แยกงานสอบสวนคดีอาญาออกเป็น อิสระ ปฏิบัติงานภายใต้การตรวจสอบ อย่างเข้มงวดของคณะกรรมการส อบสวนคดีอาญาแห่งชาติ สร้างหลักประกันความสุจริตแ ละประสิทธิภาพในการสอบสวนคด ีอาญาของประเทศแล้ว ระบบงานอัยการก็ต้องมีการปฏ ิรูปด้วย ที่สำคัญคือ ต้องกำหนดมาตรการตรวจสอบจาก ภายนอกในการใช้ดุลยพินิจสั่ งคดีให้มีหลักประกันว่าผู้ร ับผิดชอบได้กระทำอย่างถูกต้ องสอดคล้องกับพยานหลักฐานที ่วิญญูชนสามารถรับฟังได้ โดยคดีที่ไม่รู้ตัวผู้กระทำ ผิดสั่งงดสอบสวนหรือสั่งไม่ ฟ้อง ผู้เสียหายและผู้กล่าวโทษต้ องมีสิทธิ์ขอเอกสารการสอบสว นและหลักฐานการสั่งคดีของผู ้รับผิดชอบทุกระดับมาตรวจสอ บได้เช่นเดียวกับคำพิพากษาข องศาล
เพราะการสอบสวนและการสั่งคด ีของอัยการคือตัวชี้ขาดกระบ วนการยุติธรรมทางอาญาของประ เทศและการปกครองระบอบประชาธ ิปไตยที่แท้จริง”
....บทความที่ผ่านสายตาไปนั ้นผู้เขียนได้คัดลอกมาจากหน ังสือโรดแมป ปฏิรูปตำรวจโดย พ.ต.อ.วิรุตม์ ศิริสวัสดิบุตร จะเห็นได้ว่าอำนาจของงานสอบ สวนมีความสำคัญครอบคลุมไปทุ กบริบทของสังคมไทย ไม่เว้นกระทั่งวัดวาโบราณสถ าน
ผลการปฏิบัติหน้าที่ในตอนนั ้นกลายเป็นข่าวใหญ่โตขนาดกล ุ่มชาวบ้านโดย นายเชียรช่วง กัลยาณมิตร ทายาทผู้สร้างวัดกัลยาณมิตร ยื่นเรื่องต่อ ปปช.ให้ดำเนินการต่อคณะพนัก งานสอบสวน และพนักอัยการฐานปฏิบัติหน้ าที่โดยมิชอบ ประกอบด้วยอดีต ผบก.น. 8 ในตอนนั้น พนักงานสอบสวน สน.บุปผาราม ผู้รับผิดชอบทุกคดี พล.ต.ท.อำนวย นิ่มมะโน ขณะดำรงตำแหน่งรอง ผบช.น. พนักงานอัยการผู้รับผิดชอบท ุกคดีกรณีมีความเห็นสั่งไม่ ฟ้อง พระธรรมเจดีย์ เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร ผู้สั่งการทุบทำลายโบราณสถา นให้สูญหาย และเสียหาย
ล่าสุดนายเชียรช่วง ออกมาเคลื่อนไหวอีกครั้งโดย ขอทราบความคืบหน้าจาก พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) แต่ยังไม่มีความคืบหน้าที่ช ัดเจน
อย่างไรก็ตามแม้เรื่องดังกล ่าวยังค้างอยู่ที่ ปปช.นานถึง 5-6 ปีแล้วแต่เชื่อว่าพยาน-หลัก ฐานจากเอกสารต่างๆที่พนักงา นสอบสวน และเจ้าพนักงานอัยการมีความ เห็นว่า...ที่สั่งไม่ฟ้องเพ ราะเป็นการกระทำเพื่อพัฒนาว ัด ทำนุบำรุงพุทธศาสนา นั้นหมายความว่าอย่างไร เป็นการขัดกับบทบัญญัติของก ฎหมายว่าด้วยโบราณสถานของชา ติหรือไม่
และการสั่งไม่ฟ้องพระธรรมเจ ดีย์ ของเจ้าพนักงานดังกล่าวจึงม ีพฤติการณ์เป็นการปฏิบัติหน ้าที่มิชอบตามประมวลกฎหมายอ าญา มาตรา 157 เพื่อช่วยเหลือผู้กระทำความ ผิดหรือเปล่า
เฉพาะ พล.ต.ท.อำนวย นิ่มมะโน ซึ่งปัจจุบันมีตำแหน่งสำคัญ เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการ ปฏิรูปประเทศไทย เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพ มหานคร และมีบทบาทต่างๆมากมายในสัง คม
การ “ดองเรื่อง” ให้อยู่ในขั้นตอนแสวงหาข้อเ ท็จจริงโดยไม่มีการชี้มูลฯน ่าเป็นห่วงว่าภาพพจน์ของคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ภาพลักษณ์ของรัฐบาลภายใต้กา รนำของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ซึ่งให้ความสำคัญกับเรื่องท ุจริตคอรัปชัน หรือการใช้อำนาจหน้าที่ไม่ถ ูกต้องนั้นจะเกิดคำถามจากปร ะชาชนในลักษณะค่อยๆดังขึ้นๆ ๆ หรือไม่
หลายเรื่องที่ยังกอง (ดอง)อยู่ที่ ปปช.จนองค์กรน่าเชื่อถือแห่ งนี้ทำท่าจะกลายเป็นแผงขาย “ห่อหมก” พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ อาจถูกยกให้เป็น “เจ้าชายห่อหมก” เพราะมีแต่เรื่อง “หมักหมม”หมกเอาไว้.
https://mgronline.com/ daily/detail/9590000122999
ภาพล่าสุด 27 มกราคม 2561
https:// th.m.wikipedia.org/wiki/ วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร
หลวงปู่เส่งได้มีส่วนช่วยท่ านเจ้าคุณพรหม ในด้านการพัฒนาต่างๆ และที่สำคัญยิ่งก็คือ การที่จัดหล่อระฆังใบใหญ่เม ื่อปี พ.ศ.2474 ซึ่งต่อมาปรากฏตามหลักฐานปร ะวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรได ้จารึกไว้ว่า "เป็นระฆังใบใหญ่ที่สุดในปร ะเทศไทย"
ภายหลังจากที่ท่านเจ้าคุณพร หมมรณภาพปี พ.ศ.2476 "หลวงปู่เส่ง" ได้รับภาระการสร้างต่อจนเสร ็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 ม.ค.2478 ทำพิธีนำระฆังไปประดิษฐานแล ะฉลองเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2478 โดยมีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า เสด็จเป็นประธาน
http:// m-legens.blogspot.com/2015/ 12/blog-post.html?m=1
เผยแพร่: 10 ธ.ค. 2559 07:04:00 โดย: MGR Online
ผู้จัดการสุดสัปดาห์ - มีข่าวการทำลายโบราณสถานวัด
ใครจะทุบทำลายทำให้เสื่อมค่
ปัญหาก็คือ การทำลายโบราณสถานในวัดนี้เ
ข้อเท็จจริงก็คือ หลังจากกรมศิลปากรทราบจากปร
แต่ไม่น่าเชื่อว่าการสอบสวน
ส่วนอัยการเห็นท่าไม่ดี หากใช้เหตุผลนี้สั่งไม่ฟ้อง
การสอบสวนและสั่งไม่ฟ้องผู้
จนกระทั่งกลุ่มประชาชนปกป้อ
นั่นคือเหตุผลสำคัญที่เป็นค
เพราะหากไม่มีการทำลายโบราณ
ก็อธิบดีกรมศิลปากรนายทะเบี
ส่วนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชา
ในการปฏิรูปประเทศครั้งนี้ องค์กรที่ต้องมีการปฏิรูปให
เพราะการสอบสวนและการสั่งคด
....บทความที่ผ่านสายตาไปนั
ผลการปฏิบัติหน้าที่ในตอนนั
ล่าสุดนายเชียรช่วง ออกมาเคลื่อนไหวอีกครั้งโดย
อย่างไรก็ตามแม้เรื่องดังกล
และการสั่งไม่ฟ้องพระธรรมเจ
เฉพาะ พล.ต.ท.อำนวย นิ่มมะโน ซึ่งปัจจุบันมีตำแหน่งสำคัญ
การ “ดองเรื่อง” ให้อยู่ในขั้นตอนแสวงหาข้อเ
หลายเรื่องที่ยังกอง (ดอง)อยู่ที่ ปปช.จนองค์กรน่าเชื่อถือแห่
https://mgronline.com/
ภาพล่าสุด 27 มกราคม 2561
https://
หลวงปู่เส่งได้มีส่วนช่วยท่
ภายหลังจากที่ท่านเจ้าคุณพร
http://
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
ร่วมแสดงความคิดเห็นได้ครับ