สมเด็จวัดระฆังองค์ในประวัติศาสตร์ไทย นำออกหาทุนสืบทอดพระศาสนา
สมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ ในประวัติศาสตร์ไทย เพื่อปกป้องและสืบทอดพระศาสนา
องค์เจ้าคุณเที่ยงบริจาคบูชา 20 ล้านบาท
ส่วนหนึ่งถวายเจ้าคุณเที่ยง
ภาพใหญ่ติดอยู่ที่กุฎิเจ้าอาวาส วัดระฆังโฆสิตาราม
พระธรรมธีรราชมหามุนี เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม
เจ้าคุณเที่ยง และ ข้าพเจ้า
รายชื่อบุคคลที่ได้รับมอบ พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ จาก พิพิธภัณฑ์ภาพพระเครื่อง (ทำความดีแก่ประเทศชาติ)
ชื่อ นาย สมเกียรติ กาญจนชาติ ประธานพิพิธภัณฑ์ภาพพระเครื่อง NGO
พิพิธภัณฑ์ภาพพระเครื่อง นำพระเครื่องในการอนุรักษ์ ออกหาทุนในโครงการประวัติศาสตร์ความมั่นคงพระศาสนา
ศึกษา ข้อมูลความมั่นคงสถาบันพระศาสนาเพิ่มเติมที่http://picasawebcothssomkiert.blogspot.com/www.facebook.com/ssomkiert www.facebook.com/thaihistory
http://www.facebook.com/thaihistory/notes
http://www.alittlebuddha.com/
โครงการและข้อมูล
http://picasawebcothssomkiert.blogspot.com/2013/09/blog-post_9.html
สอบถามข้อมูลได้ที่ พิพิธภัณฑ์ภาพพระเครื่อง NGO โทร 084-6514822 คุณ สมเกียรติ กาญจนชาติศรัทธาบริจาคได้ที่
บัญชีธนาคารกรุงเทพ ชื่อบัญชี สมเกียรติ กาญจนชาติ
เลขที่บ/ช 209-0-518040 สะสมทรัพย์
จากการได้สนทนาธรรม ระหว่างข้าพเจ้า สมเกียรติ กาญจนชาติ และ พระเทพสารเวที เลขานุาการในสมเด็จพระสังฆราช ด้วยท่านเจ้าคุณได้กล่าวว่า"เป็นห่วงประเทศ”และท่านเจ้าคุณได้กล่าวถึง
โครงการประวัติศาสตร์ความมั่นคงพระศาสนา มีจุดประสงค์เพื่อให้ข้อมูลแก่ชาวพุทธทั่วโลก เพื่อปกป้องและตรวจสอบ การกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา สมเด็จพระสังฆราช ตรัสชัดพระต้องถือธรรมะเป็นใหญ่ ไม่ยึดติดกับอำนาจ เงินทอง สมณศักดิ์ ยอมสละชีวิตรักษาธรรมะได้
หลักการศึกษา คือ กาลามสูตร เป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ฟังๆ กันมา
อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ทำต่อๆ กันมา
อย่าเพิ่งเชื่อตามคำเล่าลือ
อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างตำรา
อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา
อย่าเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา
อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล
อย่าเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน
อย่าเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณ์ที่ควรเชื่อได้
อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผู้พูดเป็นครูบาอาจารย์ของตน
ข้อมูลศึกษาการอนุรักษ์พระเครื่องเชิงประวัติศาสตร์ ที่http://www.facebook.com/thaihistory/photos_stream#!/media/set/?set=a.325539200825522.74249.161446187234825&type=3
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
ร่วมแสดงความคิดเห็นได้ครับ